
เพราะเหตุใด ‘ผู้สูงวัย’ จึงต้อง ‘ประเมินภาวะเสี่ยงล้ม’
23 มกราคม 2566
สิ่งของที่ถูกใช้งานก็สามารถเสื่อมไปได้ตามกาลเวลา ไม่ต่างจากร่างกายที่เมื่ออายุมากขึ้นความเสื่อมของระบบในร่างกายจะส่งผลให้ความแข็งแรงของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง หนึ่งในนั้นคือ “ความสามารถในการทรงตัว” ที่จะทำให้แขน ขา ศีรษะ หรืออวัยวะส่วนอื่นกระแทกพื้น ต้นเหตุของภาวะกระดูกหัก ภาวะเลือดคั่งในสมอง และเสี่ยงเกิดความพิการ จนถึงเสียชีวิตได้!

รีวิว!! ตรวจความสมดุลระดับฮอร์โมน
5 มกราคม 2566
หงุดหงิด งุ่นง่าน นอนไม่หลับ ฉุนเฉียว ผมร่วง ผิวแห้ง เป็นเพราะฮอร์โมนหรือเปล่านะ? แล้วอาการพวกนั้นเกี่ยวกับฮอร์โมนได้ยังไง? วันนี้แอดมีคำตอบให้ ใครมีอาการต้องสงสัย มาเช็กด่วนนนน!

ตาโต้ลม หรือจ้องหน้าจอนาน อาจเป็น “โรคตาแห้ง” ไม่รู้ตัว!
15 ธันวาคม 2565
“โรคตาแห้ง” สามารถเกิดได้กับคนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ผู้คนส่วนใหญ่มักอยู่ในห้องแอร์ อาจใส่คอนแทคเลนส์ หรือทำงานหน้าคอมพิวเตอร์ต่อเนื่องเป็นเวลานาน สิ่งเหล่านี้มีส่วนทำให้เกิดภาวะตาแห้งทั้งสิ้น

เคี้ยวเพลิน จนลืมฟัน เสี่ยง
12 ธันวาคม 2565
“ฟัน” อวัยวะบดอาหารด้วยการ “เคี้ยว” เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถทำการย่อยอาหารได้ง่ายขึ้น แต่อย่าเคี้ยวเพลิน จนลืมดูแลฟัน เพราะแม้จะเป็นอวัยวะที่มีความแข็งมากที่สุดในร่างกาย แต่หากเคี้ยวของแข็งบ่อยครั้งหรือมีพฤติกรรมที่เป็นผลเสียต่อฟัน อาจทำให้ “ฟันร้าว” จนไม่สามารถเคี้ยวอะไรได้อีกเลย!

ไขข้อข้องใจ คนท้องทำฟันได้ไหม!
12 ธันวาคม 2565
ความกังวลของว่าที่คุณแม่ที่กำลังอุ้มท้องเจ้าตัวน้อย นอกจากสุขภาพร่างกายที่ต้องดูแลรักษาขณะตั้งครรภ์แล้ว สุขภาพช่องปากก็ถือเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม เพราะคุณแม่มักจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากขณะที่มีการตั้งครรภ์ และหากขาดการดูแลรักษาที่ถูกต้องอาจส่งผลกระทบต่อลูกน้อยในครรภ์!

รู้หรือไม่? ทำไมเด็ก.. ต้องทำฟันกับหมอฟันเด็กเท่านั้น!
7 ธันวาคม 2565
หนึ่งในหลายคำถามเกี่ยวกับการเข้ารับการรักษาฟันสำหรับเด็ก คือ หากมีปัญหาเกี่ยวกับฟันจำเป็นแค่ไหนในการรักษากับทันตแพทย์เด็ก สามารถพาเด็กเข้ารับการรักษากับทันตแพทย์ทั่วไปเหมือนกับผู้ใหญ่ได้หรือไม่!?

ตรวจสุขภาพฟันดีอย่างไร ?
30 พฤศจิกายน 2565
“ฟัน” เป็นส่วนสำคัญของร่างกาย ฟันของเรามี 2 ชุด คือ ฟันน้ำนมเป็นฟันชุดแรก มี 20 ซี่ และฟันแท้ซึ่งจะขึ้นแทนที่ฟันน้ำนม มี 32 ซี่ โดยฟันทั้ง 2 ชุดต่างทำหน้าที่ในการบดเคี้ยวอาหาร ช่วยในการออกเสียง และรักษารูปหน้า

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI ตรวจอะไรใน “สมอง” ได้บ้าง
23 พฤศจิกายน 2565
MRI คือ คลื่นสนามแม่เหล็กความเข้มสูงและคลื่นความถี่วิทยุ ในการสร้างภาพที่มีความละเอียดสูงเพื่อตรวจดูเนื้อสมอง เส้นเลือดสมอง และก้อนเนื้อต่าง ๆ รวมทั้งตรวจหาโรคหรืออาการบาดเจ็บโดยไม่ต้องผ่าตัด ทั้งนี้การตรวจด้วยเครื่อง MRI จะใช้เวลาประมาณ 30 ถึง 60 นาที ขึ้นอยู่กับรอยโรค

รู้จัก “โรคพาร์กินสัน” อาการสั่น ที่ไม่ควรมองข้าม!
21 พฤศจิกายน 2565
มือสั่น ขาสั่น เคลื่อนไหวช้า ไม่แสดงสีหน้า พูดเสียงเบาแทบไม่ได้ยิน อาการที่หลายคนไม่ได้ใส่ใจนักหากเกิดขึ้นในผู้สูงอายุ เพราะเข้าใจว่าเป็นอาการทั่วไปที่เกิดขึ้นได้ในผู้สูงอายุ แต่รู้หรือไม่ว่า อาการดังกล่าว อาจเป็นสัญญาณบ่งชี้ของ “โรคพาร์กินสัน” ที่หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง เสี่ยงต่อการเป็นผู้ป่วยติดเตียงได้!

ไขข้อสงสัย การรักษามีบุตรยาก เด็กเสี่ยงเกิดความผิดปกติจริงหรือ!?
15 พฤศจิกายน 2565
ภาวะมีบุตรยากคือปัญหาหนักใจของคู่รักหลายคู่ที่ปล่อยธรรมชาติมานานแรมปี แต่ก็ยังไม่มีเบบี๋มาให้ชื่นใจ แต่หากจะทำการรักษาภาวะมีบุตรยาก กลับมีความกังวลใจเกี่ยวกับลูกน้อยว่ามีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดปกติ เช่น ดาวน์ซินโดรม พัฒนาการช้า หรืออวัยวะภายในไม่สมบูรณ์ ขึ้นหรือไม่ “ไขข้อข้องใจการรักษามีบุตรยาก เสี่ยงเด็กเกิดความผิดปกติจริงหรือ!?

กระตุ้นไข่แบบ Double Stimulation ช่วยเพิ่มโอกาสได้ตัวอ่อนสองเท่า
14 พฤศจิกายน 2565
คุณผู้หญิงรู้หรือไม่? กระบวนการกระตุ้นไข่เป็นอีกหนึ่งขั้นตอนที่สำคัญของการฝากไข่ เพื่อให้เราได้ไข่ที่เพียงพอสำหรับการตั้งครรภ์ในอนาคต แน่นอนว่าการจะมีลูกน้อย 1 คน จะต้องมีเซลล์ไข่ที่มีคุณภาพดีอย่างน้อย 10 - 15 ฟอง

เช็กอาการปัญหาช่องปาก เสี่ยง "โรคปริทันต์"
11 พฤศจิกายน 2565
โรคปริทันต์อักเสบ คือ การติดเชื้อแบคทีเรียที่บริเวณเนื้อเยื่อหรืออวัยวะรอบตัวฟัน

รีวิว!! ตรวจคุณภาพสเปิร์ม ที่ศูนย์ผู้มีบุตรยาก เวิลด์เมดิคอล
9 พฤศจิกายน 2565
ความรักหวานจนน้ำตาลเรียกพี่ แต่เตรียมพร้อมมาเป็นปี เจ้าเบบี๋ก็ยังไม่มา ปัญหาน่าหนักใจของคู่รักที่กำลังประสบปัญหาภาวะมีบุตรยาก ภาวะที่ต้นเหตุเกิดขึ้นได้จากทั้งชายและหญิง แต่รู้หรือไม่! 25% ของคู่รักที่ประสบภาวะมีบุตรยากมีต้นเหตุมาจากฝ่ายชายอย่างเรา!

อยากมีลูกน้อย ควรฝากไข่กี่ฟอง
9 พฤศจิกายน 2565
การฝากไข่ เป็นทางเลือกของผู้หญิงยุคใหม่ที่ยังไม่พร้อมมีบุตรในปัจจุบัน แต่วางแผนจะมีบุตรในอนาคต เมื่อถึงวันที่พร้อมจะมีบุตร ไข่ที่แช่แข็งไว้จะถูกนำมาเข้าสู่กระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว ปฎิสนธิกับอสุจิของสามีแล้วเลี้ยงเป็นตัวอ่อน ดังนั้นยิ่งเรามีไข่เยอะ โอกาสได้ตัวอ่อนก็จะมากขึ้น แล้วสาว ๆ เคยสงสัยไหมว่าเราจะต้องมีไข่ฝากไว้กี่ใบถึงจะเพียงพอในการมีบุตร

ERA TEST ตรวจความพร้อมของเยื่อบุโพรงมดลูก เพิ่มโอกาสสำเร็จในการตั้งครรภ์
9 พฤศจิกายน 2565
ERA TEST (Endometrial receptivity analysis) เป็นการตรวจเพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการย้ายตัวอ่อนกลับเข้าสู่โพรงมดลูก ลดปัญหาการไม่ฝังตัวของตัวอ่อน เพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์