
ภาวะมีบุตรยาก คืออะไร
24 พฤษภาคม 2565
‘ภาวะมีบุตรยาก’ หมายถึง การที่คู่สมรสไม่มีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น โดยที่มีเพศสัมพันธ์กันอย่างสม่ำเสมอ และไม่ได้คุมกำเนิดเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี หรือระยะเวลา 6 เดือน ในกรณีที่ฝ่ายหญิงมีอายุมากกว่า 35 ปี ขึ้นไป

“ภาวะไข่ไม่ตกเรื้อรัง” ความผิดปกติ ไม่ควรมองข้าม สาเหตุมีลูกยาก
23 พฤษภาคม 2565
การตกไข่ของเพศหญิงนั้น เป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการมีเจ้าตัวน้อย เพราะการตั้งครรภ์จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่ออสุจิเข้าไปทำการปฏิสนธิกับไข่ ซึ่งจะเกิดกระบวนการนี้ได้ก็ต่อเมื่อวันนั้นมีภาวะตกไข่นั่นเอง

จุกแน่น ท้องอืด จุกแสบบริเวณใต้ลิ้นปี่สัญญาณเตือน “โรคกระเพาะอาหาร”
23 พฤษภาคม 2565
พฤติกรรมที่เร่งรีบ และชีวิตประจำวันที่ต้องแข่งขันกับเวลา ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง เช่นการดื่มเครื่องดื่มที่มีกาเฟอีน รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นหนึ่งในสาเหตุการเกิด “โรคกระเพาะอาหาร” ที่หากไม่ทำการรักษาอย่างถูกวิธี อาจส่งผลให้เกิดเลือดออกในกระเพาะอาหาร หรือกระเพาะลำไส้เป็นแผลทะลุ!

ภาวะ “มดลูกคว่ำ” สาเหตุมีลูกยาก ฝ่ายหญิง จริงหรือ!!!
20 พฤษภาคม 2565
‘มดลูก’ อวัยวะขนาดเล็กรูปร่างคล้ายลูกแพร์ แต่มีความแข็งแรงสวนทางกับขนาด เพราะเป็นอวัยวะที่มีกล้ามเนื้อเรียงทับกันถึงสามชั้น จะมีลักษณะเป็นโพรงสามเหลี่ยมแบน ๆ มีทางแยกสามทาง คือ ทางไปยังช่องคลอด และอีกสองทางคือปีกมดลูกนั่นเอง

ตรวจส่องกล้องลำไส้ สำคัญอย่างไร?
11 พฤษภาคม 2565
“มะเร็งลำไส้ใหญ่” คือ มะเร็งที่คร่าชีวิตชาวไทยมากเป็นอันดับต้น ๆ และยังมีอัตราการเกิดโรคที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น “การส่องกล้องตรวจลำไส้” จึงถูกหยิบมาใช้ในการหาความผิดปกติบริเวณลำไส้ เพื่อลดความสูญเสียและเพิ่มโอกาสในการรักษาให้มากขึ้น

รักษาโควิดหายแล้ว ปฏิบัติตัวอย่างไร แล้วทำไมยังเจอ 2 ขีด!?
10 พฤษภาคม 2565
ในสถานการณ์ที่มีผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นจำนวนมาก และหลายคนก็เป็นหนึ่งในผู้ติดเชื้อโควิดที่ได้เข้ารับการรักษาตามกระบวนการอย่างถูกวิธี แต่เมื่อครบกำหนดการกักตัวแล้ว กลับยังมีอาการ และในบางกลุ่มเมื่อตรวจหาเชื้อด้วย ATK แล้ว ยังขึ้น 2 ขีด ทำให้เกิดความกังวลใจว่าแบบนี้ เราหายแล้วจริงหรือ? แล้วจะแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้หรือไม่?

ใส่หน้ากากอนามัยแล้วสิวเห่อ...ต้องทำอย่างไร??
3 พฤษภาคม 2565
อย่างที่ทุกคนทราบปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในปัจจุบัน ที่ถูกยืดเยื้อมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้เราต้องใช้ชีวิตอยู่ภายใต้หน้ากากอนามัยนานขึ้น จนเหมือนว่าหน้ากากอนามัยเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราไปแล้ว และด้วยสภาพอากาศของประเทศไทยที่ร้อน ทำให้การใส่หน้ากากอนามัย ทำร้ายผิวหน้าของเราโดยไม่ทันได้ตั้งตัว คงไม่มีใครคาดคิดว่าการหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันเชื้อไวรัสCOVID-19, PM 2.5 หรือมลภาวะอื่นๆ จะเป็นตัวการหนึ่งที่ทำให้เกิดการระคายเคืองผิว และเกิดสิวบนใบหน้า จนเป็นปัญหากวนใจของใครหลายๆคน แล้วเราจะมีการแก้ไขปัญหาอย่างไร??

ก้อนเต้านมที่คลำได้ เป็นซีสต์ หรือ ก้อนเนื้อมะเร็ง?!
3 พฤษภาคม 2565
ชีวิตผู้หญิงเรานั้น มักมีความผิดปกติหรือความซับซ้อนอยู่ในทุกช่วงวัย ให้เกิดความประหลาดใจและกังวลใจอยู่เสมอ อีกหนึ่งเรื่องที่มองข้ามไปไม่ได้เลยคือ การเกิดสิ่งผิดปกติขึ้นกับหน้าอกหน้าใจดังเช่น “ก้อน” เพราะนั่นอาจเป็นได้ทั้งซีสต์ในเต้านมหรือก้อนเนื้อในเต้านมก็ได้ ซึ่งทั้งสองจะมีลักษณะที่คลำพบคล้ายกัน แต่การพัฒนาไปสู่ “มะเร็งเต้านม” ต่างกันอย่างสิ้นเชิง!

พัฒนาการเด็กเล็ก
29 เมษายน 2565
การเลี้ยงลูก คือประสบการณ์ที่นอกจากสร้างความสุขแล้ว ยังเป็นการเรียนรู้อะไรใหม่ ๆ และท้าทายไปพร้อมกัน เพราะเด็กในแต่ละช่วงวัย ตั้งแต่แรกเกิด คือวัยที่จะคอยเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซึ่งส่งผลต่อ “พัฒนาการ” ของเจ้าตัวน้อยทั้งสิ้น ดังนั้น การสังเกตุจะช่วยให้ผู้ปกครองหยิบยื่นสิ่งที่จะช่วยพัฒนาพัฒนาการของเด็กให้เป็นไปตามวัยอย่างเหมาะสม

น้ำมูกไหล แค่เป็นหวัด หรือไซนัสอักเสบ !?
18 เมษายน 2565
แม้อากาศประเทศไทยจะมีอากาศร้อนเป็นส่วนใหญ่ แต่ในบางครั้งก็กลับมีฝนตกติดต่อกันจนก่อให้เกิดอากาศชื้น และส่งผลให้หลายท่านมีอากาศเป็นไข้ เป็นหวัด คัดจมูกอยู่ตลอด แต่รู้หรือไม่ว่า อาการดังกล่าว ไม่ควรมองข้าม เพราะนั่นอาจเป็นสัญญานอาการของ “ไซนัสอักเสบ”

ฮีทสโตรก ภัยเงียบในช่วงฤดูร้อน!
15 เมษายน 2565
ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่ลำแสงของดวงอาทิตย์ จะตั้งฉากกับผิวพื้นโลกในเวลาเที่ยงวัน ทำให้ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์อย่างเต็มที่ ในช่วงตอนกลางวันหลายพื้นที่ในประเทศไทยอาจมีอุณหภูมิสูงถึง 40 องศาเซลเซียสเลยก็ว่าได้ จากสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นในช่วงนี้ แน่นอนว่าใครที่ต้องเผชิญกับแดดแรงๆ ร่างกายอาจเกิดภาวะขาดน้ำ และทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาโดยเฉพาะ โรคลมแดด หรือ ฮีทสโตรก (Heat Stroke)

MIS-C (มิสซี) ภาวะแทรกซ้อนหลังหายป่วยโควิดในเด็ก
12 เมษายน 2565
ภาวะ MIS-C (มิสซี) Multisystem Inflammatory Syndrome in Children คือ กลุ่มอาการอักเสบหลายระบบในเด็ก ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงที่พบในเด็กหลังหายจากการติดเชื้อโควิด-19 โดยจะมีการอักเสบของอวัยวะหลายระบบในร่างกายพร้อมๆ กัน โดยเฉพาะอาการในระบบหัวใจ ปอด ตับ ไต สมอง ผิวหนัง ตา ระบบทางเดินหายใจ หรือระบบทางเดินอาหาร

“หินปูนเต้านม” เสี่ยงมะเร็งเต้านม ตรวจได้ด้วยแมมโมแกรม
8 เมษายน 2565
เต้านม คือ อวัยวะส่วนสำคัญ ที่หากเกิดความผิดปกติขึ้นสาว ๆ หลายคนคงเกิดความวิตกกังวลเป็นอย่างมาก เพราะความผิดปกติที่เกิดขึ้นอาจเป็นสัญญาณเสี่ยงของโรคร้ายที่จะตามมา ซึ่งอีกหนึ่งความน่ากังวลที่เกิดขึ้นกับเต้านมจนเสี่ยงเกิดโรคได้นั่นคือ “หินปูนเต้านม”

มะเร็งปอด
4 เมษายน 2565
มะเร็งปอดหนึ่งในสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนไทย ซึ่งมะเร็งปอดเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในโลกและเป็นโรคที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในกลุ่มโรคมะเร็ง โดยส่วนมากผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดจะไม่แสดงอาการในระยะแรก แต่จะมีสัญญาณที่บ่งบอกถึงการเกิดโรคเมื่อมีการเจริญเติบโตของมะเร็งมากขึ้น อย่างไรก็ตามมะเร็งปอดสามารถรักษาให้หายได้หากตรวจพบตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น

ปวดกล้ามเนื้อ ติดเชื้อโควิด??
29 มีนาคม 2565
เนื่องจากอาการปวดกล้ามเนื้อ จัดเป็นหนึ่งในอาการที่ ”พบได้ขณะที่ติดเชื้อโควิด-19” อย่างนี้ เราจะรู้อย่างไร ? ว่าอาการปวดกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้น มาจากการติดเชื้อโควิด-19 หรือเป็นอาการปวดกล้ามเนื้อทั่วไป