อาการปวดหลัง นับเป็นอาการที่สำคัญที่ส่งผลกระทบกับการใช้ชีวิตประจำวัน อาทิ ทำให้เกิดความไม่สบายตัว ทำให้ทำงานได้น้อยลง หากเป็นเรื้อรังอาจส่งผลให้สุขภาพจิตเสียหรือนอนไม่หลับได้ จากสถิติพบว่าอาการดังกล่าวข้างต้น มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากการทำงานที่ต้องนั่งนาน นั่งผิดท่า หรือแม้กระทั่งการนั่งขับรถเป็นเวลานานโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ
เมื่อไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตในแต่ละวันไม่สามารถหลีกเลี่ยงสาเหตุของอาการปวดหลังได้ ทำให้ผู้ป่วยหลายท่านต้องระงับอาการปวดด้วยการรับประทานยา เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดให้ลดลง
พบว่าการรับประทานยาแก้ปวดนั้น ได้ผลดีในการลดอาการปวดหลัง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังเฉียบพลัน และการรับประทานยามากกว่าหนึ่งตัวจะช่วยเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกัน ทำให้สามารถลดอาการปวดหลังได้ดียิ่งขึ้น แต่เนื่องจากยาแก้ปวดหลังนั้นมีหลายชนิด การเลือกใช้ยาได้ถูกกับสาเหตุและอาการจะส่งผลให้การรักษาออกมาดีที่สุด
แต่สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังเรื้อรังนั้น จะไม่สามารถรักษาด้วยการรับประทานยาเพียงอย่างเดียว ส่วนที่สำคัญคือ การหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดและรักษาให้ตรงจุดถึงจะทำให้อาการปวดหลังดีขึ้นได้
ยาที่ใช้สำหรับรักษาอาการปวดหลังมีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 8 กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มยามีข้อดีและข้อเสียต่างกัน และใช้สำหรับรักษาอาการปวดหลังที่มาจากสาเหตุต่างกัน การเลือกยาให้ตรงกับสาเหตุและเลือกโดยให้เกิดผลข้างเคียงน้อยที่สุดจึงเป็นเป้าหมายของการรักษาโดยการใช้ยา ยาบางกลุ่มสามารถหาซื้อได้จากร้านขายยา บางกลุ่มเป็นยาพิเศษ สั่งได้เฉพาะแพทย์เฉพาะทาง การเลือกใช้ยาได้ตรงสาเหตุจะทำให้ได้รับผลการรักษาดีขึ้นอย่างมาก
นอกจากนี้แล้ว หากผู้ป่วยมีอาการร่วมอื่นๆ เช่น อาการปวดร้าวลงสะโพกหรือปวดร้าวลงขา อาการชาบริเวณขาและปลายเท้า เดินได้ระยะทางสั้นลง ปวดกลางคืนหรือเป็นตะคริว ล้วนเป็นสัญญานว่าผู้ป่วยอาจมีโรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่จากกล้ามเนื้อหลัง ควรจะต้องตรวจหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดดังกล่าวครับ
การรักษาอาการปวดหลังโดยการใช้ยานั้น ได้ผลดี หากเลือกใช้ยาได้ถูกต้องและตรงกับสาเหตุของการปวดหลัง และในบางครั้งการฝึกกล้ามเนื้อเฉพาะจุด และการปรับท่าทางต่างๆ จะช่วยลดอาการปวดหลังได้อย่างมากจนอาจจะไม่ต้องใช้ยารักษาเลยก็ได้ครับ หมอหวังว่าผู้อ่านจะได้รับประโยชน์จากบทความนี้ ไม่มากก็น้อย
แพ็กเกจแนะนำ
แพ็กเกจ เลเซอร์กำจัดขนรักแร้ Aileen
แพ็กเกจ ตรวจภาวะหยุดหายใจขณะหลับด้วยระบบ AI
แพ็กเกจ ลดปวด ออฟฟิศซินโดรม
แพ็กเกจ กระตุ้นการกลืนด้วย Vital Stim
แพ็กเกจ ผ่าตัดต้อกระจก
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ
แพ็กเกจ ฝึกกิจกรรมบำบัด
แพ็กเกจ ฝังรากฟันเทียม
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพหัวใจ
แพ็กเกจ ทดสอบภูมิแพ้ในเด็ก
แพ็กเกจ ตรวจสมดุลฮอร์โมน
แพ็กเกจ ลดความอ้วน ด้วยบอลลูนในกระเพาะอาหาร
แพ็กเกจ ตรวจภูมิหลังติดเชื้อ หรือ หลังฉีดวัคซีน แบบ Quantitative
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2566
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกัน โรคไข้เลือดออก
แพ็กเกจ สปาตา (Eyelid spa)
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์
แพ็กเกจ ฝากครรภ์ Pregnancy Program (เหมาจ่าย)
แพ็กเกจ วัคซีน HPV (Gardasil 4 สายพันธุ์)
แพ็กเกจ ฉีดเชื้ออสุจิเข้าโพรงมดลูก IUI
บทความสุขภาพอื่นๆ
ตั้งเป้าหมายลดน้ำหนักอย่างไรให้ผอม
“หินปูนเต้านม” เสี่ยงมะเร็งเต้านม ตรวจได้ด้วยแมมโมแกรม
เตรียมบอกลารอยสิว ฝ้า กระ จุดด่างดำ
ยิ่งลดยิ่งอ้วน ข้อผิดพลาดของการลดน้ำหนัก
รู้หรือไม่? ทำไมเด็ก.. ต้องทำฟันกับหมอฟันเด็กเท่านั้น!
ถ่ายเป็นเลือด สัญญานเตือนโรคร้ายอะไรบ้าง
การดูแลภาวะชักจากไข้ในเด็ก
สัญญานเตือน! คุณกำลังเสี่ยง “ช่องคลอดอักเสบ”
เทคนิคการกำจัดก้อนเนื้อที่เต้านม ด้วย Vacuum Assisted Breast Excision (VAE)
ลิ่มเลือดประจำเดือน อันตรายหรือไม่ ?
ตรวจคัดกรองมะเร็งหลังโพรงจมูก เพิ่มโอกาสให้หายขาดได้
รู้เท่าทัน “โรคหัวใจเด็ก”
รักษาอาการปวดออฟฟิศซินโดรม ด้วยคลื่นอัลตราซาวด์!
รักษาอาการปวด ด้วยคลื่นแม่เหล็ก PMS
บรรเทาปวด ด้วยเครื่องเลเซอร์กำลังสูง high power laser therapy
เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ เรื่องที่ผู้หญิงต้องรู้
ปวดท้องน้อยเรื้อรังอาจเสี่ยงเป็น “พังผืดมดลูก”
โปรตีนรั่วในปัสสาวะ เสี่ยงโรคไต จริงหรือไม่
ทำอย่างไรหากมีภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
ถั่วเหลือง กับ วัยทอง
VDO ความรู้สุขภาพ
ตรวจสุขภาพตับด้วยเทคโนโลยีตรวจหาพังผืดและไขมันในตับ Fibro Scan
คุณพีท-กันตพร ทำสปาตา (Eyelid spa) ขจัดไขมันเปลือกตา กำจัดไรขนตา
ก้อนเต้านมชนิดดี เข็มดูดออกได้ ไม่ต้องผ่าตัด
“แน็ก” ชาลี หายใจโล่งงงงง
‘ฝากไข่’ วางแผนมีลูกเมื่อพร้อม ลดเสี่ยงมีลูกยากในอนาคต
“Endotine” โปรแกรมยกกระชับใบหน้า
เมื่อ “พี่พีท”-กันตพร เป็น…ภูมิแพ้ไรฝุ่น!! จะรักษาอย่างไร ใช้เวลานานแค่ไหนกันนะ!?
รู้จักกับ ออกซิเจนบำบัด Hyperbaric Oxygen Therapy
ฝากไข่ ลดเสี่ยง เมื่อพร้อมมีลูก
รู้ทันอาการปวดไมเกรน ภัยร้ายวัยทำงาน
ตรวจสุขภาพประจำปี
ศูนย์ไตเทียม โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล
เด็กโตก่อนวัย สัญญาณเตือน ไม่ใช่เรื่องปกติ ส่งผลกระทบต่อจิตใจและความสูง
รีวิวพลีชีพ! ทำ Colon Hydrotherapy (ดีท็อกซ์) สวนก้น ล้างลำไส้ ครั้งแรก
‘จมูกแรก’ ผ่านไป 6 เดือน เพื่อนทัก ปังมาก
ห้ามเลื่อนผ่าน Clip นี้..ถ้าคุณคิดจะเสริมหน้าอก
รู้ก่อน..รักษาก่อน “อาย กมลเนตร” ชวนตรวจสุขภาพ เพื่อสุขภาพดีที่ยืนยาว
การส่องกล้องโพรงมดลูก แม่นยำ ปลอดภัย ไร้แผล เตรียมพร้อมสู่การรักษา “มีบุตรยาก”
ก้อนเต้านม ไม่ต้องผ่าก็หายได้
IUI การฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูก
บทความโดย

นายแพทย์ เกรียงศักดิ์ เล็กเครือสุวรรณ
แพทย์ผู้ชำนาญการด้านคลินิกระงับปวด และผ่าตัด ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อไหล่
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
ศูนย์ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์เฉพาะทาง (Advanced Orthopedics Center) ชั้น 2
โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล (WMC)
โทร 02-836-9999 กด 4 หรือ *2621-2
แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

