ไขมันในเลือดสูงนำไปสู่โรคอะไรได้บ้าง
หากได้ยินคำว่า “ไขมัน” บรรดาผู้รักสุขภาพทั้งหลายคงจะรู้สึกหงุดหงิดใจกันไม่น้อย เพราะต้องคอยเผาพลาญไขมันส่วนเกินออกอยู่เสมอ แต่รู้หรือไม่ว่า มากกว่าความน่าหงุดหงิดของคือความน่ากลัวของ “ไขมันในเลือด” ที่อาจส่งผลถึงชีวิต!!
ในร่างกายของคนเรานั้น จะมีไขมันทั้งหมด 2 ชนิดด้วยกัน คือ คอเลสเตอรอล และ ไตรกลีเซอไรด์
1. คอเลสเตอรอล คือ ไขมันที่เกิดได้จากภายในร่างกาย โดยการสังเคราะห์จากตับหรือลำไส้ และเกิดได้จากอาหารที่รับประทาน อาทิ อาหารที่มีรสจัด หวาน มัน เค็ม ขนมกรุบกรอบ ครีมเทียม และนมเนย ที่หากร่างกายได้รับคอเลสเตอรอลมากเกินไป จะส่งผลให้เส้นเลือดแข็งตัว และหลอดเลือดตีบตัน
2. ไตรกลีเซอไรด์ คืออีกหนึ่งไขมันที่ร่างกายสร้างขึ้นมาจากอาหารที่มีน้ำตาลหรือแป้ง ซึ่งเป็นไขมันที่มีความสำคัญต่อร่างกาย แต่หากไตรกลีเซอไรด์มีระดับสูงขึ้นอาจเกิดจาก โรคอ้วน โรคเบาหวาน การดื่มสุรา และการทานยาฮอร์โมน หรือ สเตียรอยด์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดหลอดเลือดตีบ เลือดไหลเวียนไม่สะดวกจนเลี้ยงหัวใจและอวัยวะอื่น ๆ ไม่เพียงพอ เสี่ยงเกิดอัมพฤกษ์อัมพาต
สาเหตุการเกิดภาวะไขมันในเลือด
• ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ ทำให้ระบบเผาพลาญไขมันลดลง
• รับประทานอาหารผิดหลักโภชนาการ
• โรคของต่อมไร้ท่อ เช่น เบาหวาน ไทรอยด์ โรคตับ และโรคไตบางชนิด เป็นต้น
• การใช้ยาประเภท สเตียรอยด์ ยาคุมกำเนิด เป็นต้น
• การดื่มแอลกอฮอล์
ผู้ที่ควรตรวจระดับไขมันในเลือด
• ผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
• ผู้ที่มีคนในครอบครัวเป็นโรคหัวใจ
• ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
• ผู้สูบบุหรี่
• ผู้ดื่มแอลกอฮอล์
ซึ่งในทางที่เหมาะสมนั้น การตรวจร่างกายควรเกิดขึ้นเมื่ออายุ 35 ปีขึ้นไป และควรตรวจซ้ำทุก ๆ 1-3 ปี เพื่อตรวจสอบความเสี่ยงในการเกิดโรคและการเปลี่ยนแปลงของร่างกายอยู่เสมอ เพราะสุขภาพคือสิ่งที่เมื่อเกิดความสูญเสีย 1 ครั้ง จะส่งผลยาวนานเกินกว่าที่จะกู้คืนได้ ดังนั้น เพื่อให้การรักษาเป็นไปอย่างทันท่วงที ตรวจสุขภาพทุกปี เช็คสุขภาพให้ดีก่อนมีความเสี่ยง!
สาเหตุการเกิดภาวะความดันต่ำ
● การลุกนั่งกระทันหัน หรือก้มเงยศีรษะอย่างรวดเร็ว ทำให้ความดันที่จะไปเลี้ยงสมองลดลงอย่างรวดเร็ว
● มีความเครียด
● ขาดสารอาหารประเภทโปรตีน และวิตามินซีส่งผลให้โดยรอบผนังหลอดเลือดไม่แข็งแรง
● มีการใช้ยาหรือโรคประจำตัว อาทิ ยาลดความดันโลหิต ยาขับปัสสาวะ หรือยากล่อมประสาท
● มีโรคประจำตัว หรืออยู่ในภาวะที่ความดันร่างกายอาจผิดปกติ อาทิ ตั้งครรภ์ โรคโลหิตจาง โรคหัวใจ หรือโรคพาร์กินสัน
● ภาวะขาดน้ำ เช่น อาเจียน ท้องเสีย
● พันธุกรรม
อาการของความดันโลหิตต่ำ
● คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม
● ตาพร่า มองเห็นภาพไม่ชัด
● ใจสั่น ใจเต้นแรง ไม่สม่ำเสมอ
● อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
● หายใจลำบาก แน่นหน้าอก
● กระหายน้ำ ปัสสาวะน้อย
● มือเท้าเย็น ผิวซีด หนาวสั่น
● ระบบย่อยอาหารผิดปกติ
หลายคนให้ความสำคัญและเป็นกังวลกับโรคความดันสูงมากกว่าความดันต่ำ แต่แท้จริงแล้ว ภาวะความดันต่ำ คือภัยเงียบที่คืบคลานเข้ามาโดยที่คุณไม่รู้ตัว และสามารถส่งผลร้ายถึงชีวิตได้ไม่แพ้กัน ดังนั้น การตรวจเช็กสุขภาพประจำปีถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก และเมื่อมีสัญญาณบ่งชี้ที่ผิดปกติ ควรเข้าพบแพทย์ทันทีเพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษาที่ตรงจุดต่อไป
แพ็กเกจแนะนำ
แพ็กเกจ เลเซอร์กำจัดขนรักแร้ Aileen
แพ็กเกจ ตรวจภาวะหยุดหายใจขณะหลับด้วยระบบ AI
แพ็กเกจ ลดปวด ออฟฟิศซินโดรม
แพ็กเกจ กระตุ้นการกลืนด้วย Vital Stim
แพ็กเกจ ผ่าตัดต้อกระจก
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ
แพ็กเกจ ฝึกกิจกรรมบำบัด
แพ็กเกจ ฝังรากฟันเทียม
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพหัวใจ
แพ็กเกจ ทดสอบภูมิแพ้ในเด็ก
แพ็กเกจ ตรวจสมดุลฮอร์โมน
แพ็กเกจ ลดความอ้วน ด้วยบอลลูนในกระเพาะอาหาร
แพ็กเกจ ตรวจภูมิหลังติดเชื้อ หรือ หลังฉีดวัคซีน แบบ Quantitative
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2566
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกัน โรคไข้เลือดออก
แพ็กเกจ สปาตา (Eyelid spa)
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์
แพ็กเกจ ฝากครรภ์ Pregnancy Program (เหมาจ่าย)
แพ็กเกจ วัคซีน HPV (Gardasil 4 สายพันธุ์)
แพ็กเกจ ฉีดเชื้ออสุจิเข้าโพรงมดลูก IUI
บทความสุขภาพอื่นๆ
ตั้งเป้าหมายลดน้ำหนักอย่างไรให้ผอม
“หินปูนเต้านม” เสี่ยงมะเร็งเต้านม ตรวจได้ด้วยแมมโมแกรม
เตรียมบอกลารอยสิว ฝ้า กระ จุดด่างดำ
ยิ่งลดยิ่งอ้วน ข้อผิดพลาดของการลดน้ำหนัก
รู้หรือไม่? ทำไมเด็ก.. ต้องทำฟันกับหมอฟันเด็กเท่านั้น!
ถ่ายเป็นเลือด สัญญานเตือนโรคร้ายอะไรบ้าง
การดูแลภาวะชักจากไข้ในเด็ก
สัญญานเตือน! คุณกำลังเสี่ยง “ช่องคลอดอักเสบ”
เทคนิคการกำจัดก้อนเนื้อที่เต้านม ด้วย Vacuum Assisted Breast Excision (VAE)
ลิ่มเลือดประจำเดือน อันตรายหรือไม่ ?
ตรวจคัดกรองมะเร็งหลังโพรงจมูก เพิ่มโอกาสให้หายขาดได้
รู้เท่าทัน “โรคหัวใจเด็ก”
รักษาอาการปวดออฟฟิศซินโดรม ด้วยคลื่นอัลตราซาวด์!
รักษาอาการปวด ด้วยคลื่นแม่เหล็ก PMS
บรรเทาปวด ด้วยเครื่องเลเซอร์กำลังสูง high power laser therapy
เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ เรื่องที่ผู้หญิงต้องรู้
ปวดท้องน้อยเรื้อรังอาจเสี่ยงเป็น “พังผืดมดลูก”
โปรตีนรั่วในปัสสาวะ เสี่ยงโรคไต จริงหรือไม่
ทำอย่างไรหากมีภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
ถั่วเหลือง กับ วัยทอง
VDO ความรู้สุขภาพ
ตรวจสุขภาพตับด้วยเทคโนโลยีตรวจหาพังผืดและไขมันในตับ Fibro Scan
คุณพีท-กันตพร ทำสปาตา (Eyelid spa) ขจัดไขมันเปลือกตา กำจัดไรขนตา
ก้อนเต้านมชนิดดี เข็มดูดออกได้ ไม่ต้องผ่าตัด
“แน็ก” ชาลี หายใจโล่งงงงง
‘ฝากไข่’ วางแผนมีลูกเมื่อพร้อม ลดเสี่ยงมีลูกยากในอนาคต
“Endotine” โปรแกรมยกกระชับใบหน้า
เมื่อ “พี่พีท”-กันตพร เป็น…ภูมิแพ้ไรฝุ่น!! จะรักษาอย่างไร ใช้เวลานานแค่ไหนกันนะ!?
รู้จักกับ ออกซิเจนบำบัด Hyperbaric Oxygen Therapy
ฝากไข่ ลดเสี่ยง เมื่อพร้อมมีลูก
รู้ทันอาการปวดไมเกรน ภัยร้ายวัยทำงาน
ตรวจสุขภาพประจำปี
ศูนย์ไตเทียม โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล
เด็กโตก่อนวัย สัญญาณเตือน ไม่ใช่เรื่องปกติ ส่งผลกระทบต่อจิตใจและความสูง
รีวิวพลีชีพ! ทำ Colon Hydrotherapy (ดีท็อกซ์) สวนก้น ล้างลำไส้ ครั้งแรก
‘จมูกแรก’ ผ่านไป 6 เดือน เพื่อนทัก ปังมาก
ห้ามเลื่อนผ่าน Clip นี้..ถ้าคุณคิดจะเสริมหน้าอก
รู้ก่อน..รักษาก่อน “อาย กมลเนตร” ชวนตรวจสุขภาพ เพื่อสุขภาพดีที่ยืนยาว
การส่องกล้องโพรงมดลูก แม่นยำ ปลอดภัย ไร้แผล เตรียมพร้อมสู่การรักษา “มีบุตรยาก”
ก้อนเต้านม ไม่ต้องผ่าก็หายได้
IUI การฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูก
บทความโดย

นายแพทย์ นพดล นินเนินนนท์
แพทย์ผู้ชำนาญการด้านเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
ศูนย์ตรวจสุขภาพ (Check Up Center) ชั้น 4
โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล (WMC)
โทร.02-836-9999 ต่อ *4921
แพทย์ที่เกี่ยวข้อง


