ภาวะความดันโลหิตสูงอาจทำให้หลอดเลือดและอวัยวะภายในเสียหายรวมถึงหัวใจ ภาวะความดันโลหิตสูงถูกเรียกว่าเป็นภัยเงียบ เนื่องจากโรคนี้มักไม่แสดงอาการใดๆ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบจากโรคดังกล่าวอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ดังนั้นการมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ดีต่อสุขภาพในทุกช่วงอายุสามารถช่วยลดความเสี่ยงของคุณได้
ความดันโลหิตสูงเกี่ยวข้องกับหลอดเลือดและหัวใจอย่างไร ?
การตรวจร่างกายเป็นประจำจะทำให้รู้ว่าความดันโลหิตของคุณอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ แม้ว่าความดันโลหิตสูงจะไม่ค่อยแสดงอาการ แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจทำให้อวัยวะอื่น ๆ ในร่างกายของคุณเสียหายได้ รวมถึงการเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดดังนี้
ความเสียหายต่อหลอดเลือดแดง : หลอดเลือดแดงเป็นหลอดเลือดที่นำเลือดที่มีออกซิเจนจากหัวใจไปยังอวัยวะทั้งหมด หากได้รับผลกระทบ อาจเกิดปัญหาต่างๆ เช่น เลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ เกิดไตวายเรื้อรัง , จอประสาทตาเสื่อม , อัมพฤกษ์ อัมพาต
ความเสียหายต่อหัวใจ : ความดันโลหิตสูงทำให้หัวใจทำงานหนัก เพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ในที่สุดจะเกิดผนังหัวใจหนาตัว และถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง ผนังหัวใจจะยืดออกและเสียหน้าที่ เกิดหัวใจโต และหัวใจวายได้
ปัจจัยเสี่ยง
- พันธุกรรม โอกาศจะสูงมากขึ้นเมื่อมีคนในครอบครัวเป็นโรคนี้
- อายุที่มากขึ้น
- ผู้ที่มีน้ำหนักเกิน รูปร่างอ้วน
- รับประทานอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง
- รับประทานโซเดียมสูงมากเกินไป
- การสูบบุหรี่ เพราะสารพิษในควันบุหรี ส่งผลให้เกิดการอักเสบตีบตันของหลอดเลือดต่างๆ รวมทั้งหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดที่ไต
- ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ ส่งผลให้หัวใจเต้นแรงกว่าปกติ มีโอกาศ เป็นโรคความดันโลหิตสูงประมาร 50 %
- โรคเรื้อรังบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคไต และภาวะการหยุดหายใจในขณะนอนหลับ
วิธีป้องกัน
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ควบคุมน้ำหนัก
- รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และลดปริมาณโซเดียม
- หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
- จำกัดปริมาณแอลกอฮอล์
- สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ควรตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ
เพื่อสุขภาพที่ดีและห่างไกลจากภาวะความดันโลหิตสูง ควรเข้ารับการตรวจสุขภาพเป็นประจำอย่างน้อยปีละครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคุณมีปัจจัยเสี่ยงข้างต้น ควรรีบพบแพทย์เพื่อตรวจหาภาวะผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิดได้ทันท่วงที
แพ็กเกจแนะนำ
แพ็กเกจ เลเซอร์กำจัดขนรักแร้ Aileen
แพ็กเกจ ตรวจภาวะหยุดหายใจขณะหลับด้วยระบบ AI
แพ็กเกจ ลดปวด ออฟฟิศซินโดรม
แพ็กเกจ กระตุ้นการกลืนด้วย Vital Stim
แพ็กเกจ ผ่าตัดต้อกระจก
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ
แพ็กเกจ ฝึกกิจกรรมบำบัด
แพ็กเกจ ฝังรากฟันเทียม
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพหัวใจ
แพ็กเกจ ทดสอบภูมิแพ้ในเด็ก
แพ็กเกจ ตรวจสมดุลฮอร์โมน
แพ็กเกจ ลดความอ้วน ด้วยบอลลูนในกระเพาะอาหาร
แพ็กเกจ ตรวจภูมิหลังติดเชื้อ หรือ หลังฉีดวัคซีน แบบ Quantitative
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2566
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกัน โรคไข้เลือดออก
แพ็กเกจ สปาตา (Eyelid spa)
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์
แพ็กเกจ ฝากครรภ์ Pregnancy Program (เหมาจ่าย)
แพ็กเกจ วัคซีน HPV (Gardasil 4 สายพันธุ์)
แพ็กเกจ ฉีดเชื้ออสุจิเข้าโพรงมดลูก IUI
บทความสุขภาพอื่นๆ
ตั้งเป้าหมายลดน้ำหนักอย่างไรให้ผอม
“หินปูนเต้านม” เสี่ยงมะเร็งเต้านม ตรวจได้ด้วยแมมโมแกรม
เตรียมบอกลารอยสิว ฝ้า กระ จุดด่างดำ
ยิ่งลดยิ่งอ้วน ข้อผิดพลาดของการลดน้ำหนัก
รู้หรือไม่? ทำไมเด็ก.. ต้องทำฟันกับหมอฟันเด็กเท่านั้น!
ถ่ายเป็นเลือด สัญญานเตือนโรคร้ายอะไรบ้าง
การดูแลภาวะชักจากไข้ในเด็ก
สัญญานเตือน! คุณกำลังเสี่ยง “ช่องคลอดอักเสบ”
เทคนิคการกำจัดก้อนเนื้อที่เต้านม ด้วย Vacuum Assisted Breast Excision (VAE)
ลิ่มเลือดประจำเดือน อันตรายหรือไม่ ?
ตรวจคัดกรองมะเร็งหลังโพรงจมูก เพิ่มโอกาสให้หายขาดได้
รู้เท่าทัน “โรคหัวใจเด็ก”
รักษาอาการปวดออฟฟิศซินโดรม ด้วยคลื่นอัลตราซาวด์!
รักษาอาการปวด ด้วยคลื่นแม่เหล็ก PMS
บรรเทาปวด ด้วยเครื่องเลเซอร์กำลังสูง high power laser therapy
เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ เรื่องที่ผู้หญิงต้องรู้
ปวดท้องน้อยเรื้อรังอาจเสี่ยงเป็น “พังผืดมดลูก”
โปรตีนรั่วในปัสสาวะ เสี่ยงโรคไต จริงหรือไม่
ทำอย่างไรหากมีภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
ถั่วเหลือง กับ วัยทอง
VDO ความรู้สุขภาพ
ตรวจสุขภาพตับด้วยเทคโนโลยีตรวจหาพังผืดและไขมันในตับ Fibro Scan
คุณพีท-กันตพร ทำสปาตา (Eyelid spa) ขจัดไขมันเปลือกตา กำจัดไรขนตา
ก้อนเต้านมชนิดดี เข็มดูดออกได้ ไม่ต้องผ่าตัด
“แน็ก” ชาลี หายใจโล่งงงงง
‘ฝากไข่’ วางแผนมีลูกเมื่อพร้อม ลดเสี่ยงมีลูกยากในอนาคต
“Endotine” โปรแกรมยกกระชับใบหน้า
เมื่อ “พี่พีท”-กันตพร เป็น…ภูมิแพ้ไรฝุ่น!! จะรักษาอย่างไร ใช้เวลานานแค่ไหนกันนะ!?
รู้จักกับ ออกซิเจนบำบัด Hyperbaric Oxygen Therapy
ฝากไข่ ลดเสี่ยง เมื่อพร้อมมีลูก
รู้ทันอาการปวดไมเกรน ภัยร้ายวัยทำงาน
ตรวจสุขภาพประจำปี
ศูนย์ไตเทียม โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล
เด็กโตก่อนวัย สัญญาณเตือน ไม่ใช่เรื่องปกติ ส่งผลกระทบต่อจิตใจและความสูง
รีวิวพลีชีพ! ทำ Colon Hydrotherapy (ดีท็อกซ์) สวนก้น ล้างลำไส้ ครั้งแรก
‘จมูกแรก’ ผ่านไป 6 เดือน เพื่อนทัก ปังมาก
ห้ามเลื่อนผ่าน Clip นี้..ถ้าคุณคิดจะเสริมหน้าอก
รู้ก่อน..รักษาก่อน “อาย กมลเนตร” ชวนตรวจสุขภาพ เพื่อสุขภาพดีที่ยืนยาว
การส่องกล้องโพรงมดลูก แม่นยำ ปลอดภัย ไร้แผล เตรียมพร้อมสู่การรักษา “มีบุตรยาก”
ก้อนเต้านม ไม่ต้องผ่าก็หายได้
IUI การฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูก
บทความโดย

ศูนย์หัวใจ (Heart Center)
แพทย์ผู้ชำนาญการด้านอายุรศาสตร์โรคหัวใจ
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
ศูนย์หัวใจ (Heart Center) ชั้น 2
โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล (WMC )
โทร 02-836-9999 กด 2 หรือ *2821
แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

